วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนาสุภาษิต

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนาสุภาษิต




พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎก

          
พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น ใน ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนา                       อ่านเพิ่มเติ่ม

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม

      
รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ ได้แก่
    - 
ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
    - 
ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
    - 
ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
    - 
ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความร้อนในร่างกายมนุษย์)
 อ่านเพิ่มเติ่ม

วันสำคํญทางพระพุทธศาสนาและศาสนาพิธี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3วันสำคํญทางพระพุทธศาสนาและศาสนาพิธี
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1.1หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
1) วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา คือ การบูชาในเดือนมาฆะ คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นคือการประชุมสงฆ์โดยมิได้นัดหมายกันที่เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต ประกอบด้วยองค์ 4 คือ 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ


 อ่านเเพิ่มเติม

พุทธประวัติและชาดก

หน่วยการเรียนรูที่ 2 พุทธประวัติและชาดก
1 พุทธประวัติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับพุทธประวัติในด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาแล้ว ส่วนในระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสอนของพระพุทธเจ้าและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยาเพื่อที่จะได้น้อมนำมาเป็นแนวทางในการศึกษาและปฎิบัติต่อไป 


ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

หน่วยการเรียนรู้ที่1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา
          คำ ว่า การศึกษา ตรงกับกับคำว่า สิกขา หมายถึงการศึกษาทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงแต่การศึกษาเล่าเรียนในสถานศึกษาเท่านั้น แต่หมายถึงการใช้ปัญญาพิจารณาชีวิตและสรรพสิ่งทั้งหลายให้เข้าใจตามความเป็น จริง การศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนา มีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 


                          อ่านเพิ่มเติม